แบตเตอรี่ทำงานอย่างไร?

แบตเตอรี่ทำงานอย่างไร เป็นอุปกรณ์ที่หลายๆ คนน่าจะรู้ดีอยู่แล้วว่ามันคืออะไร ซึ่งแบตเตอรี่ เป็นสิ่งที่มีความสามารถในการกักเก็บไฟฟ้า ไว้ใช้งานสำรองในอนาคต โดยการทำงานของแบตเตอรี่นั้น จะสามารถเก็บประจุไฟฟ้าได้ อันเนื่องมาจากมีการสร้างแรงดันไฟฟ้าที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีภายใน ซึ่งปฏิกิริยาเหล่านั้น เป็นวัสดุจำนวน 2 ชนิด ที่มีความแตกต่างกันนั่นก็คือ เพลทขั้วบวกและลบ ถูกนำจุ่มลงภายในสารละลาย 

ถ่าน

และสำหรับแบตเตอรี่ที่เมื่อมีการใช้งานจนไฟหมดแล้วจะสามารถนำกลับมาชาร์จไฟเข้าไปใหม่ได้หลายครั้ง เป็นการทำงานของตะกั่ว-กรดภายใน ที่ยังคงทำหน้าที่ในการชาร์จและคายประจุอย่างต่อเนื่อง การทำงานเหล่านี้ เรามักจะพบได้จากแบตเตอรี่ภายในรถยนต์ เมื่อทำการสตาร์ทรถ กระแสไฟฟ้าจะไหลเวียนออกจากแบตเตอรี่ซึ่งเป็นสาเหตุให้แบตเตอรี่มีการคายประจุออกมา เกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างเพลทขึ้น ทำให้แรงดันไฟฟ้าภายในแบตเตอรี่ลดลง และแน่นอนว่าเมื่อประจุไฟฟ้าหรือกระแสไฟฟ้าภายในแบตเตอรี่ลดลง ก็จะทำให้การทำงานของแรงดันไฟฟ้าถูกลดประสิทธิภาพลงอีกด้วย

สำหรับแบตเตอรี่ที่มีการคายประจุไฟฟ้าออกมาจนหมด หรือคายจนหมดแรงดันไฟฟ้าแล้ว และสามารถนำกลับมาชาร์จไฟได้อีกเรื่อยๆ โดยระบบของมันจะมีการทำงานโดยการปล่อยให้กระแสไฟฟ้าไหลเวียนกลับคืนเข้าไปสู่แบตเตอรี่อีกครั้ง โดยจะเกิดปฏิกิริยาระหว่างเคมีและแผ่นเพลททำให้แบตเตอรี่กลับมาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพได้อีก จะเห็นได้ชัดเลยว่าการทำงานของแบตเตอรี่นั้น เป็นการคายประจุไฟฟ้าออกมา เมื่อมีการนำไปใช้งานแล้วก็ยังสามารถกักเก็บพลังงานไฟฟ้าเข้าไปได้ใหม่อีกครั้ง เมื่อมีการชาร์จไฟเข้าไปซึ่งก็จะเป็นการทำงานหรือความสามารถในการหมุนเวียนแรงดันไฟฟ้าภายในแบตเตอรี่นั่นเอง

HOTLINE-061-417-5732

https://www.facebook.com/changfidotcom

Line: @changfi

ผู้เขียน ขวัญหทัย ลิ้มประเสริฐ

ช่างไฟดอทคอม
ช่างไฟที่ดีที่สุดในกรุงเทพฯ

แบตเตอรี่ทำงานอย่างไร

ช่างไฟดอทคอม

ช่างไฟดอทคอม เป็นเว็บไซต์ ช่างไฟฟ้า ซึ่งบริการ งานช่างไฟฟ้า 24 ชม หรือ งานซ่อมบำรุง ระบบ ช่างไฟฟ้าเร่งด่วน สามารถโทรเข้าเรียกใช้บริการ ช่างไฟฟ้าใกล้ฉัน มองหาช่างไฟฟ้าบ้าน ช่างไฟฟ้าใกล้บ้าน ช่างไฟฟ้าอาคาร หรือ ช่างไฟฟ้าโรงงาน สอบถามบริการช่างไฟฟ้า เรามีทีมงาน ช่างไฟฟ้า คอยให้บริการ คอยตอบคำถาม ..ทักช่างไฟฟ้า ขอใบเสนอราคาช่างไฟดอทคอม บริษัทเออีซีเอ็นจิเนียริงจำกัด

ขั้นตอนการใช้บริการ

แอดไลน์ > แจ้งปัญหา > รอราคา > ตกลงราคา > รับบริการ

ขั้นตอนการให้บริการ
ไลน์ OA